วันพฤหัสบดีที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2556


การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 1-2 วันที่ 27 และ 28 มีนาคม 2556

การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 1-2 วันที่ 27-28 มีนาคม 2556

อาร์จารย์ชี้แจงและอธิบายเนื้อหาของรายวิชา ARTI3319 Visual Communication Design Technology เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์โดยสังเขป โดยสามารถติดตามหรือดูการอัพเดทข่าวสารได้จากลิ้งค์เหล่านี้ http://arti3319.blogspot.com/, http://prachid.com/, https://docs.google.com/spreadsheet/ccc?key=0AgdpUNs1N1FgdDlNakZ5VmlxWktEQTl2azJ2SmZCa2c#gid=13 รวมถึงความสำคัญและการใช้งานบล้อกส่วนตัวในการอัพเดทการเรียนการสอน การส่งงาน(แชร์ลิ้งค์) และการแก้ไขลิ้งค์หรือไฟล์ที่อาจารย์ได้แชร์ให้ หลังจากนั้นจึงมีการเรียนการสอนเรื่องการใช้เครื่องมือออนไลน์ อย่างGoogle+ และ Google driveให้เกิดประโยชน์ เช่นการเข้าไปปรับแต่งข้อมูลส่วนตัว ซึ่งสามารถเข้าไปปรับแก้ไขได้ในหัวข้อ Profile หลังจากนั้นจากนั้นจึงเข้าไปแก้ไขข้อมูลที่ About


ที่มาของภาพ : พลพัฒน์ นงค์นิ่ม, 2556.

การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 1-2 วันที่ 27-28 มีนาคม 2556

ได้มีการสอบวัดความรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน โดยข้อสอบจะมีด้วยกัน 20 ข้อ ให้นักศึกษาทำแล้วแจ้งข้อมูลให้อาจารย์ผู้สอน ซึ่งต้องสมัครและล้อกอินเข้าในระบบ http://chandraonline.chandra.ac.th/
 ที่มาของภาพ : พลพัฒน์ นงค์นิ่ม, 2556.

หลังจากนั้นเข้าในระบบ

ChandraOnline : Claroline e-Learning System และล้อกอินเข้าเข้าระบบเพื่อทำแบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน
ที่มาของภาพ : พลพัฒน์ นงค์นิ่ม, 2556.

หลังจากนั้นอาจารย์ได้สอนและอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีต่างๆที่น่าสนใจและควรไปศึกษาเพื่อประโยชน์สำหรับตัวนักศึกษาเอง ซึ่งสามารถค้นหาได้จากระบบของ Google หรือ Gmail ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก และได้รับการยอมรับมากที่สุด โดยสมัยนี้มีเทคโนโลยีที่ให้มากับ web browser (เว็บเบราว์เซอร์) มามากมาย ซึ่งทำให้สามารถหาความรู้ได้มากมายและง่ายดายมากขึ้น เช่น http://cloudcomputingtools.blogspot.com/ คือ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เพื่อการบริหารจัดการงานส่วนตัวและองค์กรอย่างพอเพียง ผลิตภัณฑ์และเครื่องมือบริการฟรีในระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆของกูเกิ้ล
ที่มาของภาพ : พลพัฒน์ นงค์นิ่ม, 2556.

ต่อมาเรียนรู้เกี่ยวกับการจัีดแบบฟอร์มใบปะหน้าโครงการวิจัยของนักศึกษา การเขียนงานวิจัย โดยให้นักศึกษาดูตัวอย่างจากสถาบันวิจัยและพัฒนาhttp://web.chandra.ac.th/research/ และเข้าไปดาวน์โหลดแบบฟอร์มงานวิจัย เพื่อมาใช้เป็นกรณีศึกษาและส่งงานที่อาจารย์ได้สั่ง
ที่มาของภาพ : พลพัฒน์ นงค์นิ่ม, 2556.


ซึ่งเราสามารถดูตัวอย่างและศึกษาการทำโครงการวิจัยของนักศึกษาได้ที่ https://sites.google.com/site/artthesis/ 











แนะนำเว็บไซต์ต่างๆซึ่งนักศึกษาสามารถเข้าไปดูและแชร์เว็บไซต์ต่างๆได้เช่นกัน ซึ่งจะอยู่ในไดรฟ์ของทุกคนในชื่อ การบ้านทุกสัปดาห์ของทุกคนทุกกลุ่ม-บันทึกแหล่งเรียนรู้-ศึกษาและร่วมแบ่งปัน-บูรณาการกัน ในวิชาที่ผศ.ประชิด ทิณบุตร สอน https://docs.google.com/spreadsheet/ccc?key=0AgdpUNs1N1FgdGJYWGZmUkMxTGg0b3JpcVcwV2tNY0E#gid=0

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น